สิ่งควรรู้ ของคนใช้รถยนต์เป็นประจำ ต่อ พ.ร.บ. รถยนต์เบิกได้ก้อนได้

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้เกี่ยวกับการต่อ พ.ร.บ. ทุกๆ ปี เราสามารถที่จะเบิกเงินคืนในกรณีใดได้บ้าง กับบทความ สิ่งควรรู้ ของคนใช้รถยนต์เป็นประจำ ต่อ พ.ร.บ. รถยนต์เบิกได้ก้อนได้ ไปดูกันว่าเราสามารถเบิกเงินได้ในกรณ๊ใดบ้าง เพื่อให้เราไม่เสียผลประโยชน์ที่ควรจะได้รับ

แน่นอนว่ารถยนต์ทุกคันต้องทำ พ.ร.บ. รถยนต์ เพราะเป็นสิ่งที่กฎหมายบังคับต าม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภั ยจากรถ พ.ศ. 2535 ประโยชน์ของการทำ พ.ร.บ. รถยนต์จะให้ความคุ้มครองและเบิกได้ดังนี้

ค่า เ สี ย ห า ยเบื้องต้น

เป็นเงินค่าใช้จ่ายที่ผู้ประสบภั ย ( ทั้งผู้ขับขี่ ผู้โดยสารและบุคคลภายนอ ก ) สามารถเบิกได้เลยโดยยังไม่ต้องพิสูจน์ว่าฝ่ายใดเป็นฝ่ายถูกหรือฝ่ายผิด โดยทางบริษัทประกันภั ยจะจ่ายค่า เ สี ย ห า ยเบื้องต้น ภายใน 7 วัน ดังนี้

ค่า รักษ าพ ย า บาล ( จ่ายต ามจริง ) กรณีบาดเ จ็ บ สามารถเบิกได้สูงสุดคนละ 3O,OOO บาท

กรณี เ สี ย ชีวิต สูญ เ สี ย อวัยวะ หรือทุพพลภาพถาวร ( พิการ ) สามารถเบิกได้ 35,OOO บาท

ในกรณีที่ได้รับความ เ สี ย ห า ยทั้ง 2 กรณี จะได้รับเงินชดเชยรวมกันไม่เกิน 65,OOO บาท

พ.ร.บ รถยนต์ เบิกค่า เ สี ย ห า ยอะไรได้บ้าง

ค่าสินไหมทดแทน

สำหรับเงินค่าสินไหมทดแทนนี้ ผู้เคลมประกัน พ.ร.บ. รถยนต์ จะได้รับค่าสินไหมทดแทนหลังจากที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าตนเองเป็นฝ่ายถูกต ามกฎหมาย โดยสามารถเบิกค่า เ สี ย ห า ยได้ดังนี้

ค่า รักษ าพ ย า บาล สูงสุดคนละ 80,000 บาท

กรณี เ สี ย ชีวิต หรือทุพพลภาพถาวร ( พิการ ) คนละ 300,000  บาท

กรณีสูญ เ สี ย อวัยวะ

สูญ เ สี ย อวัยวะ 2 ส่วนขึ้นไป 300,000  บาท, สูญ เ สี ย อวัยวะ 1 ส่วน 250,000  บาท, สูญ เ สี ย นิ้ว ตั้งแต่นิ้วเดียวขึ้นไป 200,000  บาท

ค่าชดเชยกรณีนอนพัก รักษ าตัวในโรงพ ย า บาล ( ผู้ป่ ว ยใน ) 200 บาทต่อวัน ( ไม่เกิน 20 วัน )

พ.ร.บ รถยนต์ เบิกค่า เ สี ย ห า ยอะไรได้บ้าง

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า หากเราขับรถยนต์ประสบอุบั ติ เ ห ตุ ถ้ามี พ.ร.บ.รถยนต์ก็จะได้รับความคุ้มครองอันแรกเป็น ค่า เ สี ย ห า ยเบื้องต้น ซึ่งสามารถเบิกได้แม้อุบั ติ เ ห ตุ ที่เกิดขึ้นจะไม่มีคู่กรณีก็ต าม และหากเมื่อพิสูจน์ได้ว่าอุบั ติ เ ห ตุ ครั้งนั้นเราเป็นฝ่ายถูก ก็จะได้รับค่าสินไหมทดแทนเพิ่มเติม

เอ กส ารสำคัญที่ต้องใช้ในการเคลม พ.ร.บ.

1 กรณีทุ พ พ ล ภาพ

สำเนาบัตรประช าชนผู้ประสบอุ บั ติ เ ห ตุ, ใบรับรอง แ พ ท ย์และหนังสือรับรองความ พิก า ร, สำเนาบันทึกประจำวันของพนักงานสอบสวนหรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่าผู้นั้นได้รับความ เ สี ย ห า ยจากการประส บ ภั ย จากรถ

2 กรณีบ า ดเ จ็ บ

สำเนาบัตรประช าชนผู้ประส บ อุ บั ติ เห ตุ, ใบเสร็จรับเงินต้นฉบับ กรณีเบิกค่าชดเชยหรือผู้ป่ ว ยใน , ใบรับรองแ พ ท ย์หรือหนังสือรับรองการรั ก ษ าตัวผู้ป่ ว ยใน

3 กรณีเ สี ย ชี วิ ต

สำเนาบัตรประช าชนผู้ประ ส บ อุ บั ติ เ ห ตุ / ใบ ม ร ณ ะ บัตร, สำเนาบัตรประช าชนทาย า ท, สำเนาทะเบียนบ้าน, สำเนาบันทึกประจำวันใครคดีของพนักงานสอบสอน หรือหลักฐานอื่น ๆ ที่แสดงการเ สี ย ชี วิ ตจากการประสบภั ยจากรถ

หลังจากตรวจสอบเอ กส า รเสร็จแล้วสามารถยื่นขอเบิกเงินได้กับบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบ ภั ยจากรถยนต์จำกัด ทุกสาขา บางที่อาจจะใช้ระยะเวลาในการตรวจสอบและคืนเงินให้ใน 7 วัน โดยพ.ร.บ. นี้จะคุ้มครองความ เ สี ย ห า ยของคนเท่านั้น ไม่รวมตัวรถนะ

หากรายละเอียดไม่ครบถ้้วนต้องกราบขออภั ยด้วยค่ะ สามารถศึกษาเพิ่มเติม ได้ที่นี่ www.krungsri.com/bank/th/plearn-plearn/get-to-know-compulsory-car-insurance.html

ที่มา parinyacheewit