วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้ความหมายของสีตราครุฑบนโฉนดที่ดิน กับบทความ ก่อนซื้ อข า ยควรรู้ความหมายของสีตราครุฑบนโฉนดที่ดิน ไปดูกันว่าสีตราครุฑบ่งบอ กลักษณะของที่ดินได้อย่างไร
เรื่องของโฉนดที่ดิน เป็นอะไรที่มีรายละเอียดเยอะมาก หากไม่ศึกษาหรือรู้เอาไว้ก่อน ก็อาจจะทำให้โดนเอารัดเอาเปรียบ หรือโดนหลอ กให้สูญเสียได้โดยง่าย ยิ่งต้องมีการซื้ อข า ยกันด้วยแล้วล่ะก็ ต้องดูให้ดีดีเลย อย่ า เสียรู้เด็ดข า ด เพราะเมื่อพลาดไปแล้ว จะไม่สามารถเอาคืนได้
โฉนดที่ดินคืออะไร
ก็เป็นหนังสือแสดงกร ร ม สิทธิ์นี่แหละ ออ กต ามประมวลกฎหมายที่ดินในปัจจุบัน และยังรวมถึงโฉนดแผนที่ โฉนดตราจอง และตราจองที่ว่าได้ทำประโยชน์แล้ว ต ามประมวลกฎหมายเก่า แต่ทั้งหมดทั้งมวลนี้ก็ถือว่าเป็นกร ร ม สิทธิ์เช่นกัน ซึ่งถือว่าผู้มีกร ร ม สิทธิ์ที่ดิน สามารถใช้สิทธิประโยชน์ในการซื้ อข า ย ขัดขวางไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องมายุ่งเกี่ยวกับท รั พ ย์สินโดยมิชอบต ามกฎหมายที่ได้กำหนดไว้
ตราครุฑแบ่งประเภทโฉนดอย่ า งไร
หากสังเกตดูที่หัวของโฉนดที่ดินแล้ว เราจะเห็นตราครุฆติดอยู่ด้านบนตรงกลาง และก็มีสีที่แตกต่างกันออ กไป ตราครุฑนี้ จะเป็นตัวแยกประเภทของโฉนดที่ดิน ทั้งสิทธิ์การซื้ อข า ยและทำประโยชน์ ซึ่งคนที่มีครอบครอง หรือ กำลังจะทำการซื้ อข า ยต้องเรียรรู้ไว้อย่ า งแรกเลย
ครุฑสีแดง ( น.ส.4 )
โฉนดที่ดินประเภทนี้ สามารถทำได้หมด ไม่ว่าจะเป็นการซื้ อข า ย โอน จดจำนอง จะมีกฎหมายครอบคลุมทั้งหมดทั้งสิ้น หากเป็นที่ดินที่อยู่ในเมือง จะเป็นโฉนดประเภทนี้เสียเป็นส่วนใหญ่ แต่ต้องมีการถือครองเอาไว้จนครบ 5 ปีเป็นอย่ า งต่ำ เพราะด้านหลังโฉนดจะระบุเอาไว้ชัดเจนถึงจุดนี้อยู่แล้ว
ครุฑเขียว ( น.ส.3 ก. )
จะเป็นหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ยังไม่ได้ถือว่าเป็นโฉนดที่ดิน โดยจะมีระวางรูปถ่ายทางอากาศ จะใช้สำหรับรับรองว่าเราได้ทำประโยชน์จากที่ดินผืนนั้น ซึ่งหนังสือรับรองนี้ ยังสามารถซื้ อข า ย หรือจำนองกับธนาคารได้ และยังสามารถยื่นขอเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดินครุฑแดงได้ในอนาคต
ครุฑดำ ( น.ส.3 และ น.ส.3 ข. )
ก็จัดได้ว่าเป็นหนังสือรับรองการทำประโยชน์อีกประเภทหนึ่ง แต่จะแตกต่างตรงที่ไม่มีระวางรูปถ่ายทางอากาศ แค่เป็นหนังสือแสดงถึงสิทธิ์การครอบครอง หากจะทำการซื้ อข า ย ต้องรอประกาศจากราชการเป็นเวลา 30 วัน
ใบจอง ( น.ส.2 )
เหมือนเป็นใบจองสำหรับที่ดินทำกินที่ทางราชการเขาจัดสรรให้ จะเป็นเพียงหนังสือราชการที่ออ กให้เพื่อแสดงความยินยอมให้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ซึ่งจะมีการเปิดโอกาสให้จับจองเป็นคราวๆไป หากได้ครอบครองใบจองมาแล้ว ต้องเริ่มทำประโยชน์ในที่ดินภายในระยะเวลา 6 เดือนหลังจากได้รับใบจอง และต้องทำให้แล้วเสร็จในระยะเวลา 3 ปี นับตั้งแต่วันแรกที่ได้รับใบจอง อย่ า งน้อยๆต้องทำประโยชน์ให้ได้ 75 เปอร์เซ็นต์ของที่ดินทั้งหมด
ที่ดินประเภทนี้จะไม่สามารถโอนให้กับบุคคลอื่นได้ เว้นแต่จะเป็น มรดกตกทอ ดให้แก่รุ่นต่อๆไปเพื่อทำกิน หากสามารถที่จะทำประโยชน์ได้ต ามข้อ กำหนดตอนที่ได้รับมา ก็มีสิทธิที่จะนำไปขอออ กเป็นหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ( น.ส.3, น.ส.3 ก., น.ส.3 ข. ) หรือโฉนดที่ดินได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้ข้อบังคับห้ามโอนต ามเงื่อนไขของกฎหมาย
อะไรทำให้สูญเสียกร ร ม สิทธิ์ที่ดินบ้าง
– ไม่ทำประโยชน์ในที่ดิน กล่าวคือ ปล่อยที่ดินรกร้างไม่ดูแล หากเป็นประเภทโฉนดที่ดิน มีระยะเวา 10 ปี และหนังสือรับรองการทำประโยชน์มีระยะเวลา 5 ปี ที่ดินดังกล่าวก็จะตกเป็นของรัฐต ามกฎหมาย
– บุคคลอื่นครอบครองโดยสงบเปิดเผย มีเจตนาเอาเป็นเจ้าของโดยท่านไม่เข้าขัดขวาง หากเป็นประเภทโฉนดที่ดินใช้เวลาเพียง 10 ปี บุคคลที่เข้าครอบครองมีสิทธิขอคำสั่งศาล ให้บุคคลดังกล่าวได้รับกร ร ม สิทธิ์ในที่ดินผืนนั้น แต่หากเป็นหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ( น.ส.3, น.ส.3 ก., น.ส.3 ข. ) ใช้เวลาเพียง 1 ปีเท่านั้น เราก็จะเสียสิทธิ์ไปเลยทันที
และทั้งหมดนี้ คือสิ่งแรกที่ผู้ที่มีกร ร ม สิทธิ์ครอบครองเกี่ยวกับหนังสือรับรองที่ดินประเภทต่างๆต้องรู้ เพื่อไม่ให้สูญเสียประโยชน์ในการครอบครองของตนเอง และสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินผืนนั้นๆได้อย่ า งสูงสุด ที่สำคัญจะได้ไม่เสียรู้แก่ผู้ที่คิดจะครอบครองโดยมิชอบในรูปแบบต่างๆ หากเราพลาดไปเพียงนิดเดียว อาจจะต้องเสียใจไปอีกนานเลย
ที่มา Postsod, krustory