ข้ อคิดวางแผนชีวิต ให้อยู่รอ ดได้สบายๆในย ามเกษียณ

ไม่ว่าใครก็ต้องมีวันที่แก่ตัวไป ซึ่งเมื่อถึงวัยนี้เราจะพบความเปลี่ยนแปลงในหล า ยๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นร่างกาย สุ ข ภ า พ การทำงานซึ่งจะไม่เหมือนในตอนวัยที่ผ่านๆมา ฉนั้นเราควรมีการจัดการวางแผนให้กับชีวิตไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ เพื่อให้เรานั้นไม่ลำบากในย ามแก่ตัวไป วันนี้เราก็มีข้ อคิดในการวางแผนชีวิตมาฝากกันจะเป็นอ ย่ างไรเราไปดูกันเลย

ในขณะที่ ปัญหาความย ากจน ยังคงเป็นหนึ่งในปัญหาหลักของประเทศไทย และเป็นปัญหาที่รัฐบาลกำลังพย าย ามเร่งขจัดให้หมดไปโดยเร็วที่สุด ความย ากจนของคนสูงวัย กำลังมีแนวโน้มจะรุนแรงขึ้น เพร าะ สังคมสูงวัย กำลังเกิดขึ้นในประเทศไทยเร็วกว่าที่คาด คนไทยมีอายุยืนย าวขึ้นไม่แตกต่างจากคนชาติอื่นๆ

แต่ขณะที่คนชาติอื่นเกษียณช้าลง คนไทยส่วนใหญ่ยังเกษียณที่ 60 ปีเหมือนเดิม ทำให้ช่วงชีวิตหลังเกษียณย าวนานขึ้นกว่าเดิม และหากมองไปในอนาคต คนไทยในขณะนี้มีลูกน้อยลง ดังนั้น การพึ่งพาลูกหลานในช่วงเกษียณจะย ากขึ้นและท้าทายมากขึ้นต าม ทำอ ย่ างไร จะสูงวัย แบบไม่ย ากจน ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 และบทวิจัย

ระบบจัดการร า ยได้ผู้สูงอายุ ควรปรับเปลี่ยนอ ย่ างไรให้เพียงพอและยั่งยืน ซึ่งมีเนื้อหาน่าสนใจ โดยจะนำมาสรุปง่ายๆเพื่อช่วยปรับแผนการเ งิ นสำหรับผู้สูงวัยในอนาคต และเ งิ นช่วยเหลือผู้สูงวัยจากรัฐบาลที่อาจจะต้องเพิ่มมากขึ้นกว่าในปัจจุบัน ทั้งนี้ ในงานวิจัยพบว่าประชาชนคนไทยส่วนใหญ่ เก็บออมด้วยตนเอง

ได้ไม่เพียงพอที่จะใช้ในย ามเกษียณ ส่วนหนึ่งมาจากมีร า ยได้ไม่เท่ากันในวัยทำงาน ทำให้บางคนเก็บออมได้มาก ขณะที่บางคนลำพังค่าใช้จ่ายแต่ละเดือนก็แทบไม่เพียงพอ นอ กจากนั้น แม้ว่าจะมีเ งิ นช่วยเหลือจากรัฐ เช่น เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ หรือ เ งิ นบำเหน็จ และบำนาญจากระบบประกันสังคม ร า ยได้ของผู้สูงอายุส่วนใหญ่ก็ยังไม่เพียงพอต่อ การดำรงชีพหลังเกษียณ

ขณะเดียวกัน ในส่วนความช่วยเหลือของรัฐจะมีเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเป็นบำนาญพื้นฐาน โดยเบี้ยยังชีพที่จ่ายคิดเป็น 600-1,000 บ า ทต่อเดือน ขณะที่เบี้ยชร าภาพ ในระบบประกันสังคมในปัจจุบันจะมีสูตรและเงื่อนไขที่ต่างกัน สำหรับ ม.33 และ 39 ซึ่งผู้ที่ส่งสมทบ 180 เดือนขึ้นไป มีสิทธิได้รับเ งิ นบำนาญตลอ ดชีวิต

1.กรณีสมทบ 180 เดือน เ งิ นบำนาญ = 0.2 × ค่าเฉลี่ยของเ งิ นเดือน

2.กรณีสมทบเกิน 180 เดือน (15 ปี) เ งิ นบำนาญ = (0.2 + 0.015 × (จำนวนปีที่สมทบ-15)) × ค่าเฉลี่ยของเ งิ นเดือน คิดจากเ งิ นเดือนสูงสุดที่ 15,000 บ า ทต่อเดือน

(ค่าเฉลี่ยของเ งิ นเดือน คิดจากเ งิ นเดือน 60 เดือนสุดท้ายที่ทำงาน และมีเพดานเ งิ นเดือนเ งิ นสมทบอยู่ที่ 15,000 บ า ทต่อเดือน โดยขอรับบำนาญได้ตั้งแต่อายุ 55 ปี) โดยหากมีลูกจ้างสามคนคือ A B และ C มีร า ยได้เฉลี่ยช่วงชีวิตการทำงานเป็น 50,000 บ า ท 20,000 บ า ท

และ 8,500 บ า ทต่อเดือน ส่งสมทบเป็นเวลา 15 ปีและเกษียณที่อายุ 55 ปี A และ B จะได้เ งิ นบำนาญต่อเดือนที่ 3,000 บ า ท และ C ได้ 1,700 บ า ท และจะได้เพิ่มขึ้นอีกหากจำนวนปีที่ส่งสบทบมากขึ้น แต่สูงสุดยังอยู่ที่หลักพันบ า ทต่อเดือน นอ กจากนั้น อีกทางของร า ยได้หลังเกษียณอาจจะมาจากการสะสมเ งิ นผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

ซึ่งเป็นการออมภาคสมัครใจของแต่ละบริษัทเอกชน ทั้งนี้ ตัวเลขความพอเพียงในการดำรงชีพของผู้สูงอายุในงานวิจัยอ้างอิงจากเส้นตัวเลขความย ากจนคือ 3,000 บ า ทต่อเดือนต่อคน และหากเป็นการดำรงชีพแบบพออยู่ได้ขั้นต่ำจะอยู่ที่ 6,000 บ า ทต่อเดือนต่อคนขึ้นไป ดังนั้น ทางออ กที่จะ สูงวัย แบบไม่ย ากจน คือต้องมี การออม เพื่อเกษียณเพิ่มขึ้น

โดยเป็นการบูรณาการเพิ่มขึ้นทั้งสองฝ่ายทั้งรัฐ และประชาชน หากพึ่งเ งิ นออมของประชาชนอ ย่ างเดียวคงไม่สามารถทำได้ โดยภาครัฐจะต้องปรับทิศทาง เ งิ นช่วยเหลือ ซึ่งเป็นการออมเ งิ นจากภาครัฐเพื่อช่วยคนไทยในย ามเกษียณให้เหมาะสมขึ้น เช่น การปรับสูตรบำนาญชร าภาพในระบบประกันสังคม

ผสมผสานกับการช่วยเหลือเพิ่มเติมอื่นๆ รวมทั้งปรับกฎเกณฑ์ยืดเวลาการเกษียณอายุ หรือให้ทำงานได้แม้ในวัยเกษียณสำหรับประชาชน การวางแผนออมเ งิ นที่เหมาะสมในแต่ละเดือนในทุกช่องทาง ตั้งแต่เริ่มทำงานเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยควรจะอยู่ที่ 30เปอร์เซน ของร า ยได้ขึ้นไป ซึ่งทั้งหมดนี้จะช่วยเพิ่มโอกาสให้เรา อยู่รอ ดได้สบายๆในย ามเกษียณ

ที่มา  forlifeth